--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์
ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง
เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย
- หน่วยรับข้อมูล ( input unit )
- หน่วยประมวลผลกลาง ( central
processor unit ) หรือ CPU
- หน่วยความจำหลัก
- หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit )
-หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (secondary storage
unit )
2. ซอฟต์แวร์ (Sofeware)
คือคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทำงานใดๆ
เนื่องจากต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็นชุดคำสั่ง
หรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ ทำงานต่าง ๆ ตามต้องการ โดยชุดคำสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming
Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือ
นักเขียนโปรแกรม เป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้น เขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา
ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ- ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )
- ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application
Software ) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็นซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทำงานต่างๆ ให้กับผู้ใช้ ซึ่งแตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน
3. บุคลากร (Peopleware)
เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทำงาน เรียก
บุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้ หรือ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทำงานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม
อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคงต้องถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ
3.1 ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ
เพราะผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้น
ทำให้มีความชำนาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยูสเซอร์
(power user)
3.2 ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer
professional) หมายถึง ผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสูง
ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนำความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และพัฒนาใช้งาน
และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทำงานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก
3.3 นักเขียนโปรแกรม
(programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทางคอมพิวเตอร์เช่นกัน
เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้
และเป็นเส้นทางหนึ่งที่จะนำไปสู่การเป็นผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ต่อไป
บุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์
เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์
ตลอดจนถึงการนำคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ดังนี้
-การดำเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น
การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล
หรือควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล
(Data Entry Operator) เป็นต้น
-การพัฒนาและบำรุงรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์
(Application Programmer) เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรม (System Programmer) เป็นต้น
-การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
(System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล
(Database Adminstrator) เป็นต้น
-การพัฒนา และบำรุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการทำงานระบบคอมพิวเตอร์
(Computer Operator) เป็นต้น
-การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น ผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
(EDP Manager) เป็นต้น
4. ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. หน่วยประมวลผลกลางและส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลาง
4. ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information)
ในการทำงานต่างๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล
เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
ซึ้งในปัจจุบันมีการนำเอาระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ
-ข้อมูล คือ
ได้จากการสำรวจจริง แต่ สารสนเทศ คือ
ได้จากข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน
-สารสนเทศ คือ สิ่งที่ผู้บริหาารนำไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ
-สารสนเทศ คือ สิ่งที่ผู้บริหาารนำไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ
5. กระบวนการทำงาน (Procedure)
กระบวนการทำงานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำตาม
เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทำงานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง
ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ
ดังนี้
1.จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทำงาน
2.สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้
3.เลือกรายการ
4.ใส่จำนวนเงินที่ต้องการ
5.รับเงิน
6.รับใบบันทึกรายการ และบัตร
***การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ
นั้นมักจะมีขั้นตอนที่สลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาต่าง ๆ
ในการปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่น
คู่มือสำหรับผู้ควบคุมเครื่อง (Operation Manual) คู่มือสำหรับผู้ใช้
(User Manual) เป็นต้น
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. หน่วยประมวลผลกลางและส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู
เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip)
นับเป็นอุปกรณ์
ที่มีความสำคัญมากที่สุด
ของฮาร์ดแวร์เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน
เข้ามาทางอุปกรณ์อินพุต ตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน
หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วยส่วนประสำคัญ 3 ส่วน คือ
หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วยส่วนประสำคัญ 3 ส่วน คือ
♦หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU)
หน่วยคำนวณตรรกะ ทำหน้าที่เหมือนกับเครื่องคำนวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทำงานเกี่ยวข้องกับ การคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร นอกจากนี้หน่วยคำนวณและตรรกะของคอมพิวเตอร์ ยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคำนวณธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไข และกฏเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คำตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ เช่น เปรียบเทียบมากว่า น้อยกว่า เท่ากัน ไม่เท่ากัน ของจำนวน 2 จำนวน เป็นต้น ซึ่งการเปรียบเทียบนี้มักจะใช้ในการเลือกทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทำตามคำสั่งใดของโปรแกรมเป็น คําสั่งต่อไป
หน่วยคำนวณตรรกะ ทำหน้าที่เหมือนกับเครื่องคำนวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทำงานเกี่ยวข้องกับ การคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร นอกจากนี้หน่วยคำนวณและตรรกะของคอมพิวเตอร์ ยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคำนวณธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไข และกฏเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คำตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ เช่น เปรียบเทียบมากว่า น้อยกว่า เท่ากัน ไม่เท่ากัน ของจำนวน 2 จำนวน เป็นต้น ซึ่งการเปรียบเทียบนี้มักจะใช้ในการเลือกทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทำตามคำสั่งใดของโปรแกรมเป็น คําสั่งต่อไป
♦หน่วยควบคุม (Control Unit)
หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ ควบคุมลำดับขั้นตอนการการประมวลผลและการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ภายในหน่วยประมวลผลกลางและรวมไปถึงการประสานงานในการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยประมวลผลกลางกับอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผลและหน่วยความจำสำรองด้วย
หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ ควบคุมลำดับขั้นตอนการการประมวลผลและการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ภายในหน่วยประมวลผลกลางและรวมไปถึงการประสานงานในการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยประมวลผลกลางกับอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผลและหน่วยความจำสำรองด้วย
♦หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
คอมพิวเตอร์จะสามารถทำงานได้เมื่อมีข้อมูลและชุดคำสั่งที่ใช้ในการประมวลผลอยู่ในหน่วยความ จำหลักเรียบร้อยแล้วเท่านั้น และหลักจากทำการประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งเรียบร้อบแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้ จะถูกนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก และก่อนจะถูกนำออกไปแสดงที่อุปกรณ์แสดงผล
2.หน่วยความจำหลักและประเภทหน่วยความจำหลัก
วิวัฒนาการของโครงสร้างพื้นฐานทางIT
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คอมพิวเตอร์จะสามารถทำงานได้เมื่อมีข้อมูลและชุดคำสั่งที่ใช้ในการประมวลผลอยู่ในหน่วยความ จำหลักเรียบร้อยแล้วเท่านั้น และหลักจากทำการประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งเรียบร้อบแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้ จะถูกนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก และก่อนจะถูกนำออกไปแสดงที่อุปกรณ์แสดงผล
2.หน่วยความจำหลักและประเภทหน่วยความจำหลัก
หน่วยความจำหลักเป็นหน่วยความจำที่ทำงานใกล้ชิดกับซีพียูโดยตรง
ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมที่ซีพียูกำลังประมวลผลอยู่ในขณะนั้น
ถ้าหากต้องการให้คอมพิวเตอร์ทำโปรแกรมใดจะต้องนำโปรแกรมมาเก็บไว้ในหน่วยความจำหลักนี้
หน่วยความจำหลักแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
♦รอม (Read only Memory:ROW) เป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลแบบถาวร(เปลี่ยนแปลงไม่ได้)
ข้อมูลจะคงอยู่ตลอดไปแม้ในช่วงที่ปิดเครื่องไม่มีกระแสไฟฟ้ามาเลี้ยง
ในเครื่องคอมพิวเตอร์จะใช้น่วยความจำนี้เป็นโปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่อง
ที่เรียกว่า รอมไบออส (Basic Input/Output System: BIOS)
♦แรม (Random Access Memory: RAM) โดยทั่วไปหากกล่าวถึงหน่วยความจำหลักของคอมพิวเตอร์มักจะนึกถึงหน่วยความจำประเภทแรมนี้
หน่วยความจำชนิดนี้เป็นหน่วยความจำที่ทำงานร่วมกับซีพียู ใช้พักข้อมูลชั่วคราว
แต่ข้อมูลจะหายเมื่อมีการปิดเครื่อง
3.หน่วยเก็บข้อมูลสำรองและประเภทของหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยความจำรองใช้สำหรับเก็บคำสั่งและข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ยังไม่ใช้ในทันทีทันใด
แต่ต้องการใช้ในอนาคต หน่อยความจำสำรองมีอยู่หลายชนิดขึ้นกับเทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล
บางประเภทเก็บข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีแบบแม่เหล็ก
บางประเภทเก็บข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีทางแสง ตัวอย่างของหน่วยความจำรองเช่น
ฮาร์ดิสก์ (harddisk) แผ่น (CD) แผ่นดีวีดี (DVD), หน่วยความจำแบบยูเอสบีแฟสช
เป็นต้น
หน่วยความจำรองจะเก็บข้อมูลได้มาก
โดยทั่วไปแล้วขนาดความจุของหน่วยความจำรองจะมากกว่าหน่วยความจำหลัก
แผ่นดิสก์ซึ่งเป็นหน่วยความจำสำรองประเภทหนึ่งมีความจุเพียง 1.44
MB แต่หน่วยความจำยุคใหม่ๆจะเก็บข้อมูลได้มากขึ้น
หน่วยที่ใช้วัดความจุข้อมูลแสดงได้ดังตารางต่อไปนี้
หน่วย
|
จำนวนไบต์โดยประมาณ
|
หาได้จาก
|
KiIobyte (kB)
|
1 พันไบต์
|
10
2 หรือ 1,024
|
Megabyte (MB)
|
1 ล้านไบต์
|
20
2 หรือ 1,048,576
|
Gigabyte (GB)
|
1 พันล้านไบต์
|
30
2
|
Terabyte (TB)
|
1 ล้านล้านไบต์
|
40
2
|
Petabyte (PB)
|
1000 ล้านล้านไบต์
|
50
2
|
Exabyte (EB)
|
1 ล้านล้านล้านไบต์
|
60
2
|
Zettabyte (ZB)
|
1000 ล้านล้านล้านไบต์
|
70
2
|
Yottabyte (YB)
|
1 ล้านล้านล้านล้านไบต์
|
80
2
|
4.หน่วยรับข้อมูลเข้าและประเภทของหน่วยรับข้อมูล
อุปกรณ์รับข้อมูลเข้า(Input Device) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูลเข้าไปสู่หน่วยประมวลผลกลาง
ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลคำสั่งต่างๆผ่านอุปกรณ์ เหล่านี้
เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ ได้แก่
♦แป้นพิมพ์(Keyboard) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับข้อมูลที่สามารถพิมพ์หรือเคาะได้
เช่น ตัวเลข ตัวอักษร
♦เมาส์(Mouse) เป็นอุปกรณ์สำหรับรับข้อมูลจากการชี้ตำแหน่งบนจอภาพ
♦แทร็กบอล(Track Ball) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูล
โดยการชี้และเลือกข้อมูลผ่านทาง จอภาพเช่นเดียวกับเมาส์แต่ แทร็กบอลจะเลื่อนตัวชี้โดยการหมุนลูกบอลที่อยู่ด้านบน
♦จอยสติก (Joy Stick) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลมีลักษณะเป็นคันโยกขึ้นลง ซ้ายขวา เพื่อควบคุมตำแหน่งของตัวชี้
♦เครื่องอ่านบาร์โค๊ต (Bar
Code Reader) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลจากรหัสของเลขฐานสองที่อยู่ในรูปของรหัสแถบ (Bar
Code)ซึ่งประกอบด้วยแถบสีดำและยาว ความกว้างของแถบสีดำตัวกำหนดรหัสที่แทนค่าของตัวเลข
♦สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูล โดยการอ่านหรือสแกน(Scan) ข้อมูลที่ต้องการ เครื่องสแกนจะมีเซลล์ไวแสงที่ตรวจจับความเข้มของแสงที่สะท้อนจากข้อมูล แล้วแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอลให้เครื่องคอมพิวเตอร์ดำเนินการต่อไป
♦เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง (Optical
Character Reader: OCR) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่เป็นอักขระจากเอกสารต่างๆ
เช่น ตัวอักษรบนเช็ค ตัวอักษรบนเอกสารอื่นๆ
♦เครื่องอ่านหมึกพิมพ์แม่เหล็ก (Magcnetic Ink Character
Reader: MICR) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่พัฒนา เพื่อใช้สำหรับการอ่านสัญลักษณ์ที่พิมพ์จากหมึกพิมพ์ที่ผสมกับผงเหล็กออกไซด์
♦ปากกาแสง (Light Pen) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลอีกชนิดหนึ่งโดนการแตะปากกาแสงไปตามตำแหน่งหรือทิศทางที่ต้องการ มักใช้ในงานออกแบบ
♦จอสัมผัส (Touch Screens) เป็นอุปกรณ์สามารถทำงานได้ทั้งการรับและการแสดงผลการรับข้อมูลจะใช้นิ้วสัมผัสที่หน้าจอ เพื่อเลือกเมนู
เช่น หน้าจอของเครื่อง ATM
♦กล้องถ่ายภาพดิจิตอล (Digital
Camera) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลโดยการถ่ายภาพ ข้อมูลที่ได้จะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอลแล้วเก็บข้อมูลดิจิตอลนั้นไว้ในอุปกรณ์ CCD
(Charge Coupled Device) แล้วส่งข้อมูลไปประมวลผลในคอมพิวเตอร์
♦ไมโครโฟน (Microphone) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลจากเสียงพูดโดยตรง เสียงที่ได้จะถูกแปลงสัญญาณเป็นสัญญาณดิจิตอล เพื่อให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้
5.หน่วยแสดงผลและประเภทอุปกรณ์ของหน่วยแสดงผล
ความสนใจของผู้บริหารกับเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และหลักในการเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่างๆและธุรกิจขนาดเล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น ระบบคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ ไมโครคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์พีซีซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ จนสามารถตอบสนองความต้องการได้ ในราคาที่ถูกลง ค่าบำรุงรักษาต่ำ การใช้งานสะดวกขึ้นและมีซอฟต์แวร์สำเร็จรูปให้เลือกใช้งานจำนวนมาก จึงมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานด้านต่าง ๆ
หลักในการเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
5.หน่วยแสดงผลและประเภทอุปกรณ์ของหน่วยแสดงผล
หน่วยแสดงผล คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
♦จอภาพหรือมอนิเตอร์ ทำหน้าที่แสดงข้อมูลในขณะที่คอมพิวเตอร์กำลังทำงาน
เพื่อติดต่อและสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้ จอภาพจะต้องทำงานร่วมกับแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่แสดงผลบนจอภาพหรือการ์ดจอ
ซึ่งมีทั้งแบบติดตั้งที่เมนบอร์ดโดยตรงและแบบที่เป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์แยกติดต่างหาก
จอภาพที่นิยมใช้ในปัจจุบันแบ่งเป็น 2
ชนิด
ได้แก่
- จอภาพแบบนูนหรือซีอาร์ที ใช้หลอดภาพแบบซีอาร์ทีจากด้านหลังไปกระทบกับสารที่เคลือบพื้นผิวของจอภาพทำให้เกิดการเรืองแสง
ปรากฏเป็นภาพที่แสดงออกมา
- จอภาพแบบแบนหรือจอแอลซีดี ทันสมัยกว่าแบบแรก
ใช้พื้นที่ในการติดตั้งน้อย
มีหลักการแสดงภาพโดยสภาวะปกติจะเป็นของเหลว แต่เมื่อมีแสงผ่านจะเกิดการเรียงโมเลกุลใหม่กลายเป็นของแข็งแทนเพื่อแสดงภาพแทน
♦ลำโพง ทำหน้าที่แสดงผลในรูปแบบเสียง มีการทำงานร่วมกับการ์ดเสียง โดยการ์ดเสียงจะรับสัญญาณดิจิทัล
มาแปลงให้เป็นสัญญาณเสียงส่งต่อไปยังสายส่งสัญญาณที่เชื่อมต่อไปยังลำโพงเพื่อส่งข้อมูลเสียงไปยัง
ผู้ใช้งาน
♦หูฟัง ช้รับข้อมูลประเภทเสียง มีลักษณะการทำงานเหมือนกับลำโพงแต่ลดขนาดลง ทำให้สะดวกในการพกพา
ใช้รับข้อมูลได้เฉพาะตัวบุคคล บางชนิดมีไมโครโฟน หูฟังประเภทนี้จะมีสายสำหรับเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 2 เส้น โดยเส้นหนึ่งจะใช้สำหรับรับสัญญาณเสียงส่วนอีกเส้นหนึ่งจะใช้สำหรับส่ง
สัญญาณเสียง
♦เครื่องพิมพ์ ทำหน้าที่พิมพ์ข้อมูลในรูปแบบต่าง
ๆ ให้ออกมาในลักษณะของสิ่งพิมพ์ลงบนกระดาษหรืออุปกรณ์อื่น ๆ
- เครื่องดอตเมตทริกซ์ เหมาะสำหรับชิ้นงานที่ต้นทุนต่ำและต้องการทำสำเนาหลายๆแผ่น โดยกระดาษที่ใช้จะต้องมีรูด้านข้างสำหรับให้หนามเตยของเครื่องพิมพ์เกี่ยวเพื่อเลื่อนกระดาษ
- เครื่องอิงค์เจ็ท มีขนาดเล็ก รูปทรงทันสมัย ใช้เวลาในการทำงานน้อย และผลงานที่ได้มีคุณภาพมากกว่า
เครื่องดอตเมตทริกซ์
- เครื่องเลเซอร์
มีแบบและรูปร่างคล้ายเครื่องแบบอิงค์เจ็ท แต่สามารถทำงานได้เร็วและผลงานที่ได้มี
ความคมชัดสูงกว่า
- เครื่องพล็อตเตอร์
มีขนาดใหญ่กว่าเครื่องพิมพ์ประเภทอื่น นิยมใช้กับงานที่เกี่ยวข้องกับการเขียนแบบต่าง
ๆ
♦เครื่องเอลซีดีโพรเจคเตอร์ เป็นฮาร์ดแวร์ที่ใช้นำเสนอข้อมูลบนจอภาพคอมพิวเตอร์ไปฉายบนจอภาพ
ขนาดใหญ่ ปัจจุบันมีการพัฒนาเครื่องแอลซีดีโพรเจคเตอร์ เพื่อให้ได้คุณภาพมากยิ่งขึ้น เรียกว่า เครื่องดีแอลพีโพรเจคเตอร์ ทำให้ข้อมูลมีความคมชัด มีความละเกียดสูง และมีขนาดเล็กกว่าเครื่องแอลซีดี
- โพรเจคเตอร์ แต่ก็มีราคาสูงกว่าด้วย
ความสนใจของผู้บริหารกับเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และหลักในการเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่างๆและธุรกิจขนาดเล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น ระบบคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ ไมโครคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์พีซีซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ จนสามารถตอบสนองความต้องการได้ ในราคาที่ถูกลง ค่าบำรุงรักษาต่ำ การใช้งานสะดวกขึ้นและมีซอฟต์แวร์สำเร็จรูปให้เลือกใช้งานจำนวนมาก จึงมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานด้านต่าง ๆ
หลักในการเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อนำมาใช้ในระบบงาน
ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของระบบงานได้ในอนาคตเนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรวดเร็วมาก
การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ต้องพิจารณาจากงานในธุรกิจนั้น แนวโน้มของธุรกิจในอนาคต สิ่งที่ควรพิจารณาคือ
1. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดกลางสามารถเชื่อมต่อกันเป็นระบบเครือข่ายท้องถิ่น LAN (Local Area
Network) และเชื่อมต่อกันเป็นระบบ WAN (Wide Area Network) โดยผ่านระบบการสื่อสารแบบต่างๆ เช่น ดาวเทียม คลื่นวิทยุ
คลื่นไมโครเวฟ ฯลฯ และเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายสากลได้ด้วย
เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีประสิทธิภาพสูง ราคาไม่แพง
2. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดกลาง
มีระบบการเก็บข้อมูลที่ดีกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ จึงเหมาะกับข้อมูลที่ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อยนัก ราคาเครื่องสูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์
3. เมนเฟรม (Mainframe) และ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดใหญ่
ทำหน้าที่เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง มีการประมวลผลข้อมูลที่ซับซ้อน
รวดเร็วมาก ประสิทธิภาพสูง ราคาแพงต้องใช้สถานที่และสภาพแวดล้อมที่ออกแบบเป็นพิเศษ ควบคุมอุณหภูมิ
เป็นต้นการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ จะต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. งบประมาณในการจัดซื้อ
2. ประเภทของงานที่นำคอมพิวเตอร์มาใช้
3. สมรรถนะของเครื่อง
4. ความสามารถในการ Upgrade ในอนาคต
4. ความสามารถในการ Upgrade ในอนาคต
วิวัฒนาการของโครงสร้างพื้นฐานทางIT
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.
ยุคเครื่องเมนเฟรมและมินิคอมพิวเตอร์ในช่วงปี 1958 ถึงปัจจุบัน
-1958 IBM first
mainframes introduced
-1965 Less
expensive DEC minicomputers introduced
2.
ยุคเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในปี 1981 ถึงปัจจุบัน
-1981
Introduction of IBM PC
-Proliferation in 80s, 90s resulted in growth of personal software
-Proliferation in 80s, 90s resulted in growth of personal software
3.
ยุคผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการในช่วง 1983 ถึงปัจจุบัน (Client/server)
-Desktop clients
networked to servers, with processing work split
between clients and servers
between clients and servers
-Network may be
two-tiered or multitiered (N-tiered)
-Various types
of servers (network, application, Web)
4.ยุคผู้ประมวลผลขององค์กรบนระบบอินเทอร์เน็ต
ตั้งแต่ 1992 ถึงปัจจุบัน
-Move toward
integrating disparate networks, applications using Internet
standards and enterprise applications
standards and enterprise applications
5.
คลาวด์คอมพิวติ้ง ตั้งแต่ 2000 ถึงปัจจุบัน (Cloud Computing)
-การประมวลผลแบบก้อนเมฆ อิงความต้องการผู้ใช้เป็นหลัก เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
-เป็นรูปคอมพิวเตอร์ที่เติบโตเร็วที่สุด
มีบทบาทการปรับเปลี่ยนการทำงานของเทคโนโลยีองค์กร
แรงผลักดันที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพื้นฐานIT
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แนวโน้มของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แพลทฟอร์ม (Current Trends In Computer Hardware Platforms)
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แรงผลักดันที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพื้นฐานIT
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
♦กฎของ Moore และพลังในการประมวลผล
-ความสามารถของซีพียูจะเพิ่มขึ้น 2 เท่า ในทุกๆเดือน
-ความสามารถการประมวลผลจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในทุกๆ
18 เดือน
-ราคาของซีพียูจะลดลงครึ่งหนึ่งในทุกๆ
18 เดือน
-Nanotechnology ลดขนาดของทรานซิสเตอร์ลงเหลือเท่ากับขนาดของอะตอม
♦กฎของการจัดเก็บข้อมูลดิจิตอลเป็นจำนวนมาก
(The Law of Mass Digital Storage)
-ปริมาณข่าวสารดิจิตอลจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในทุกๆปี
♦กฎของ Metcalfe’s Law และเครือข่ายเศรษฐศาสตร์
-คุณค่าและพลังการทำงานของเครือข่ายเพิ่มขึ้นตามจำนวนสมาชิกในเครือข่าย
-โดยสมาชิกในเครือข่ายจะได้รับผลประโยชน์มากยิ่งขึ้นเมื่อมีจำนวนสมาชิกในเครือข่ายมากขึ้น
♦ค่าใช้จ่ายในการสื่อสารข้อมูลลดลงและระบบอินเทอร์เน็ต
-มีคนประมาณ 1.5 ล้านคนทั่วโลกในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
-เมื่อค่าใช้จ่ายในการสื่อสารข้อมูลลดลง
(เข้าใกล้ 0)
แต่ระบบการสื่อสารและประมวลผลกลับมีการเติบโตมากขึ้นอย่างรวดเร็ว
♦มาตรฐานและผลกระทบของระบบเครือข่าย
- มาตรฐานเทคโนโลยี (Technology standards)
- มาตรฐานเทคโนโลยี (Technology standards)
1.ข้อกำหนดที่ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อให้สินค้าจากบริษัทผู้ผลิตต่างๆ
สามารถทำงานร่วมกันได้และมีขีดความสามารถในการสื่อสารผ่านระบบเครือข่าย
2.ปลดปล่อยพลังอำนาจอัตราส่วนทางเศรษฐศาสตร์ ซึ่งทำให้ค่าใช้จ่ายในการผลิตสินค้าลดลงเมื่อผู้ผลิตได้เน้นการผลิตสินค้าที่มีมาตรฐานเดียวกัน
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แพลทฟอร์ม (Computer Hardware Platforms)
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แพลทฟอร์ม
Computer hardware platforms ประกอบด้วย
Client machines : Desktop PCs, mobile devices –
PDAs, laptops
Servers : Blade servers: ultrathin computers
stored in racks
Mainframes
: IBM mainframe equivalent to thousands of blade servers
Top chip producers: AMD, Intel, IBM
Top firms: IBM, HP, Dell, Sun Microsystems
แนวโน้มของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แพลทฟอร์ม (Current Trends In Computer Hardware Platforms)
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. The Mobile Digital Platform
สมาร์ทโฟนและคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตกลายเป็นวิธีสำคัญในการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตอุปกรณ์เหล่านี้ใช้มากขึ้นสำหรับการประมวลผลทางธุรกิจเช่นเดียวกับการใช้งานของผู้บริโภค Hardware ขยายตัวซอฟต์แวร์ก็ขยายตามมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว
2. Consumerization Of IT and BYOD
มีการนำอุปกรณ์ส่วนตัวมาทำงานมาก โดยคนหนึ่งคนมีมากกว่า 1 อุปกรณ์ องค์กรต้องปรับเรื่องนโยบายความปลอดภัย ความนิยมในการนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย บุคลากรสามารถนำอุปกรณ์มือถือมาใช้ทำงานได้
3. Quantum Computing
3. Quantum Computing
การคำนวณด้วยควอนตัม เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่มีศักยภาพในการเพิ่มประสิทธิภาพการประมวลผลคอมพิวเตอร์อย่างมาก เพื่อหาคำตอบสำหรับปัญหาที่ต้องใช้เวลาหลายปีในการแก้ปัญหาคอมพิวเตอร์ การคำนวณเชิงควอนตัมใช้หลักการของฟิสิกส์ควอนตัม เพื่อแสดงข้อมูลและดำเนินการกับข้อมูลเหล่านี้
4. Virtualization
4. Virtualization
ช่วยลดการใช้พลังงานการจำลองเทคโนโลยีเสมือนจริง เข้าถึงแหล่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ได้หลายวิธีโดยไม่คำนึงถึงตำแหน่งทางภูมิศาสตร์และกำหนดค่าทางกายภาพ เข้าถึงได้โดยไม่จำกัดสภาพทางกายภาพสามารถทำงานได้ในทรัพยากรที่เราสร้างขึ้นมี Server มีตัวเก็บข้อมูล
5. Cloud Computing
5. Cloud Computing
คือบริการที่ครอบคลุมถึงการให้ใช้กำลังประมวลผลหน่วยจัดเก็บข้อมูล การที่เราใช้ Server ระบบและทรัพยากรของเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการทางอินเตอร์เน็ต โดยสามารถเลือกกำลังการประมวลผลเรื่องจำนวนทรัพยากรได้ ตามความต้องการในการใช้งานและให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลบน Cloud จากที่ไหนก็ได้
6. Green Computing
6. Green Computing
การประมวลผลที่รักษาสิ่งแวดล้อม อุปกรณ์ที่ใช้จะคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม เช่น monitors, printers, storage devices and networking and communications system เลือกใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการการใช้พลังงาน
7. High‐
Performance/Power‐ saving Processors
โปรเซสเซอร์แบบ Multi core เป็นวงจรรวมที่มีการประมวลผลตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานลดการใช้พลังงานและการประมวลผลงานหลายอย่างพร้อมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ในปัจจุบันมักพบกับ PC ที่มี processor แบบ dual-core, quad-core, 6-core, 8-core และ 16-core
กรณีศึกษา เรื่อง "IT IS TIME FOR CLOUD COMPUTING"
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.ผลประโยชน์ทางธุรกิจมีผลต่อบริการระบบคลาวด์อย่างไร? และช่วยแก้ปัญหาอะไร?
ระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) เป็นระบบที่ใช้งานซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ประโยชน์ของมันคือสามารถจัดเก็บข้อมูลและข้อมูลจำนวนมากได้ ,ช่วยให้เราสามารถสร้างฐานข้อมูลขนาดใหญ่และ,สามารถช่วยให้เราสามารถค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว ตัวอย่างการใช้แก้ปัญหา : Amazon ได้ใช้แผนกบริการเว็บ (AWS) ซึ่งช่วยในการรับทรัพยากรคอมพิวเตอร์จำนวนมาก (แยกจัดสรรและจัดการแหล่งข้อมูลคอมพิวเตอร์) Cloud computing ช่วยให้ Amazon ประหยัดค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลกำไรได้ใช้เวลากับงานอื่น ๆ ที่มีค่ามากกว่า
2.ข้อเสียของคอมพิวเตอร์คลาวด์คืออะไร ?
-การหยุดทำงานเมื่อไม่ได้เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ระบบคลาวด์ทั้งหมดขึ้นอยู่กับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เมื่อการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตหรือเครือข่ายลดลง บริการคลาวด์ก็ลดลงเช่นกัน
- ความปลอดภัยในระบบคลาวด์ แม้ว่าการรักษาความปลอดภัยในระบบคลาวด์โดยทั่วไปจะดีและเชื่อถือได้ แต่ผู้ให้บริการระบบคลาวด์ที่เป็นที่ยอมรับก็ไม่สามารถมั่นใจว่าจะมีระบบรักษาความปลอดภัยข้อมูลที่ล่าสุดและทันสมัยที่สุด เนื่องจากความปลอดภัยของข้อมูลถือเป็นปัญหาใหญ่สำหรับธุรกิจ
-ความไม่ยืดหยุ่น ในขณะที่เลือกผู้ขายระบบคลาวด์ โปรดระวังว่าข้อกำหนดในการให้บริการจะบังคับให้คุณไม่สามารถใช้งานได้ตามต้องการหรือมีเงื่อนไข เช่น คุณไม่สามารถแทรกเอกสารที่สร้างขึ้นในแอปพลิเคชันอื่น ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อธุรกิจของคุณ
3.แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนกำลังการผลิต ความสามารถในการปรับขนาดและ TCO ในกรณีนี้เป็นอย่างไร? ใช้แนวคิดเหล่านี้กับ Amazon และผู้สมัครใช้บริการของตน
การวางแผนกำลังการผลิตเป็นกระบวนการในการคาดเดา เมื่อระบบฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์อิ่มตัวเพื่อให้มั่นใจได้ว่ามีทรัพยากรคอมพิวเตอร์เพียงพอสำหรับงานที่มีลำดับความสำคัญต่างกัน และบริษัท มีกำลังใช้งานเพียงพอสำหรับความต้องการในปัจจุบันและในอนาคต โดยอะเมซอนต้องวางแผนว่าความต้องการในอนาคตเป็นอย่างไร
การวางแผนกำลังการผลิตคือความยืดหยุ่น ซึ่งหมายถึงความสามารถของคอมพิวเตอร์หรือระบบที่จะขยายเพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้จำนวนมาก ความสามารถในการปรับขนาดคือความสามารถของระบบเครือข่ายหรือกระบวนการที่จะจัดการกับการทำงานที่เพิ่มมากขึ้น ในลักษณะที่มีความสามารถในการขยายเพื่อรองรับการเติบโตดังกล่าว โดย Amazon ต้องสามารถให้บริการลูกค้าที่สามารถปรับขยายได้ตามที่บริษัทตั้งเป้าหมายไว้
การเป็นเจ้าของต้นทุนโดยรวม (TCO) หมายถึง การประมาณการทางการเงินเพื่อช่วยผู้ซื้อและเจ้าของในการกำหนดต้นทุนทางตรงและทางอ้อมของผลิตภัณฑ์หรือระบบ
Amazon ต้องมีการวางแผนกำลังการผลิตฮาร์ดแวร์และความยืดหยุ่น ด้วยการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ Amazon จะมีลูกค้าเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ไม่ใช่แค่ Amazon เท่านั้น แต่ลูกค้าของ Amazon ต้องมีฐานข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อเก็บข้อมูลและข้อมูลต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ บริษัท เติบโตขึ้น
4. ธุรกิจประเภทใดมีแนวโน้มที่จะได้ประโยชน์จากการใช้ระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง และเหตุใด?
Zynga เป็นตัวอย่างที่ดีของบริษัทที่ผลิตเกม โดยใช้Cloud Computing เพื่อปรับปรุงธุรกิจในรูปแบบใหม่
-มีประสิทธิภาพมากขึ้น เกมอาจจะประสบความสำเร็จเล็กน้อยหรือตียอดฮิตที่เพิ่มผู้ใช้ใหม่นับล้าน ๆ ราย Zynga ใช้จ่ายโดยการคำนวณทรัพยากรของตัวเองก่อนการเปิดตัวเกม ซึ่งจะคุ้มค่ามากขึ้นในการใช้บริการคลาวด์
-แอพพลิเคชัน Zynga ใช้ house model ซึ่งเป็นผู้พัฒนาแอพพลิเคชัน Facebook ยอดนิยมอย่างเช่น FarmVille, Mafia Wars และอื่น ๆ อีกมากมาย ในขณะที่ความรู้สึกทางธุรกิจทั่วไปอาจแนะนำว่ารู้สึกเหมาะสมที่จะจ่ายเงินสำหรับผลิตภัณฑ์เพียงครั้งเดียวและดำเนินการต่อแทนที่จะจ่ายค่าธรรมเนียมรายเดือน
-ข้อมูลสูญหาย การสูญเสียข้อมูลในระบบเศรษฐกิจข้อมูลอาจเป็นหนึ่งในสิ่งที่ร้ายแรงที่สุด ที่อาจเกิดขึ้นได้สำหรับธุรกิจบริษัท ที่ก่อนหน้านี้มีชื่อเสียงอย่างมากอาจสูญเสียความนิยมได้อย่างรวดเร็วหากสูญเสียข้อมูลสำคัญจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าและคู่ค้าทางธุรกิจสูญหาย ซึ่งอาจทำให้การค้าหยุดชะงักได้ทุกวัน ตัวอย่างเช่นการย้าย Zynga ไปที่เกมบน zCloud แบบส่วนตัวซึ่งมีโครงสร้างคล้ายกับเมฆของ Amazon แต่ทำงานภายใต้การควบคุมของ Zynga ในศูนย์ข้อมูลบน data centers on the East and West coast.
ระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) เป็นระบบที่ใช้งานซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ประโยชน์ของมันคือสามารถจัดเก็บข้อมูลและข้อมูลจำนวนมากได้ ,ช่วยให้เราสามารถสร้างฐานข้อมูลขนาดใหญ่และ,สามารถช่วยให้เราสามารถค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว ตัวอย่างการใช้แก้ปัญหา : Amazon ได้ใช้แผนกบริการเว็บ (AWS) ซึ่งช่วยในการรับทรัพยากรคอมพิวเตอร์จำนวนมาก (แยกจัดสรรและจัดการแหล่งข้อมูลคอมพิวเตอร์) Cloud computing ช่วยให้ Amazon ประหยัดค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลกำไรได้ใช้เวลากับงานอื่น ๆ ที่มีค่ามากกว่า
2.ข้อเสียของคอมพิวเตอร์คลาวด์คืออะไร ?
-การหยุดทำงานเมื่อไม่ได้เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ระบบคลาวด์ทั้งหมดขึ้นอยู่กับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เมื่อการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตหรือเครือข่ายลดลง บริการคลาวด์ก็ลดลงเช่นกัน
- ความปลอดภัยในระบบคลาวด์ แม้ว่าการรักษาความปลอดภัยในระบบคลาวด์โดยทั่วไปจะดีและเชื่อถือได้ แต่ผู้ให้บริการระบบคลาวด์ที่เป็นที่ยอมรับก็ไม่สามารถมั่นใจว่าจะมีระบบรักษาความปลอดภัยข้อมูลที่ล่าสุดและทันสมัยที่สุด เนื่องจากความปลอดภัยของข้อมูลถือเป็นปัญหาใหญ่สำหรับธุรกิจ
-ความไม่ยืดหยุ่น ในขณะที่เลือกผู้ขายระบบคลาวด์ โปรดระวังว่าข้อกำหนดในการให้บริการจะบังคับให้คุณไม่สามารถใช้งานได้ตามต้องการหรือมีเงื่อนไข เช่น คุณไม่สามารถแทรกเอกสารที่สร้างขึ้นในแอปพลิเคชันอื่น ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อธุรกิจของคุณ
3.แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนกำลังการผลิต ความสามารถในการปรับขนาดและ TCO ในกรณีนี้เป็นอย่างไร? ใช้แนวคิดเหล่านี้กับ Amazon และผู้สมัครใช้บริการของตน
การวางแผนกำลังการผลิตเป็นกระบวนการในการคาดเดา เมื่อระบบฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์อิ่มตัวเพื่อให้มั่นใจได้ว่ามีทรัพยากรคอมพิวเตอร์เพียงพอสำหรับงานที่มีลำดับความสำคัญต่างกัน และบริษัท มีกำลังใช้งานเพียงพอสำหรับความต้องการในปัจจุบันและในอนาคต โดยอะเมซอนต้องวางแผนว่าความต้องการในอนาคตเป็นอย่างไร
การวางแผนกำลังการผลิตคือความยืดหยุ่น ซึ่งหมายถึงความสามารถของคอมพิวเตอร์หรือระบบที่จะขยายเพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้จำนวนมาก ความสามารถในการปรับขนาดคือความสามารถของระบบเครือข่ายหรือกระบวนการที่จะจัดการกับการทำงานที่เพิ่มมากขึ้น ในลักษณะที่มีความสามารถในการขยายเพื่อรองรับการเติบโตดังกล่าว โดย Amazon ต้องสามารถให้บริการลูกค้าที่สามารถปรับขยายได้ตามที่บริษัทตั้งเป้าหมายไว้
การเป็นเจ้าของต้นทุนโดยรวม (TCO) หมายถึง การประมาณการทางการเงินเพื่อช่วยผู้ซื้อและเจ้าของในการกำหนดต้นทุนทางตรงและทางอ้อมของผลิตภัณฑ์หรือระบบ
Amazon ต้องมีการวางแผนกำลังการผลิตฮาร์ดแวร์และความยืดหยุ่น ด้วยการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ Amazon จะมีลูกค้าเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ไม่ใช่แค่ Amazon เท่านั้น แต่ลูกค้าของ Amazon ต้องมีฐานข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อเก็บข้อมูลและข้อมูลต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ บริษัท เติบโตขึ้น
4. ธุรกิจประเภทใดมีแนวโน้มที่จะได้ประโยชน์จากการใช้ระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง และเหตุใด?
Zynga เป็นตัวอย่างที่ดีของบริษัทที่ผลิตเกม โดยใช้Cloud Computing เพื่อปรับปรุงธุรกิจในรูปแบบใหม่
-มีประสิทธิภาพมากขึ้น เกมอาจจะประสบความสำเร็จเล็กน้อยหรือตียอดฮิตที่เพิ่มผู้ใช้ใหม่นับล้าน ๆ ราย Zynga ใช้จ่ายโดยการคำนวณทรัพยากรของตัวเองก่อนการเปิดตัวเกม ซึ่งจะคุ้มค่ามากขึ้นในการใช้บริการคลาวด์
-แอพพลิเคชัน Zynga ใช้ house model ซึ่งเป็นผู้พัฒนาแอพพลิเคชัน Facebook ยอดนิยมอย่างเช่น FarmVille, Mafia Wars และอื่น ๆ อีกมากมาย ในขณะที่ความรู้สึกทางธุรกิจทั่วไปอาจแนะนำว่ารู้สึกเหมาะสมที่จะจ่ายเงินสำหรับผลิตภัณฑ์เพียงครั้งเดียวและดำเนินการต่อแทนที่จะจ่ายค่าธรรมเนียมรายเดือน
-ข้อมูลสูญหาย การสูญเสียข้อมูลในระบบเศรษฐกิจข้อมูลอาจเป็นหนึ่งในสิ่งที่ร้ายแรงที่สุด ที่อาจเกิดขึ้นได้สำหรับธุรกิจบริษัท ที่ก่อนหน้านี้มีชื่อเสียงอย่างมากอาจสูญเสียความนิยมได้อย่างรวดเร็วหากสูญเสียข้อมูลสำคัญจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าและคู่ค้าทางธุรกิจสูญหาย ซึ่งอาจทำให้การค้าหยุดชะงักได้ทุกวัน ตัวอย่างเช่นการย้าย Zynga ไปที่เกมบน zCloud แบบส่วนตัวซึ่งมีโครงสร้างคล้ายกับเมฆของ Amazon แต่ทำงานภายใต้การควบคุมของ Zynga ในศูนย์ข้อมูลบน data centers on the East and West coast.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น