--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
(Enterprise Applications) แบ่งออกเป็น
1. ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic
Commerce. ECommerce, EC)
2. ระบบการวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจ (Enterprise
Resource Planning System: ERP)
3. ระบบการบริหารงานลูกค้าสัมพันธ์ (Customer
Relationship Management System: CRM)
4. ระบบการบริหารห่วงโซ่อุปทาน
(Supply Chain Management System : SCM)
ระบบการวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจ (Enterprise Resource Planning System: ERP)
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ERP ย่อมาจาก Enterprise
Resource Planning หมายถึง
การวางแผน ควบคุมการปฏิบัติงานและจัดการ
ทรัพยากรสารสนเทศจากการทําธุรกรรมที่เกิดขึ้นใน องค์การโดยรวม สามารถบูรณาการ (Integrate)
ข้อมูล และกระ
บวนการทํางาน หลัก (Core business process) ภายในองค์กรทั้งหมด ได้แก่ การจัดจ้าง การผลิต
การขาย การบัญชี การเงิน และการบริหารทรัพยากรบุคคล ให้มีการทํางาน ร่วมกัน
และไม่ทํางานซ้ําซ้อน พร้อมสามารถรับรู้ สถานการณ์และปัญหาของงานต่างๆ ได้ ทันที (Real
time) ทําให้สามารถตัดสินใจดําเนินธุรกิจ
หรือแก้ปัญหาภายใน องค์กร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
เพื่อให้การเชื่อมโยงการทํางานระหว่าง แผนกทําได้อย่าง ราบรื่น
และเกิดการใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
โครงสร้างของ ERP
แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มคือ
1. Material Resource Planning (IRP) หมายถึง ระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการจัดทําแผนความต้องการวัสดุ
โดย มีองค์ประกอบของข้อมูลนําเข้าที่ สําคัญ 3 รายการคือ ตารางการผลิตหลัก
แฟ้มข้อมูลบัญชีรายการวัสดุ (Bill of Material File) และ แฟ้มข้อมูลสถานะคงคลัง (InventoryStatus
File)
2. Finance Resource Management (FRI) หมายถึง ระบบ
สารสนเทศที่เน้นให้บริการเกี่ยวกับการเงินและบัญชี โดยอิงตามกฎระเบียบและข้อบังคับ
ตามที่ประเทศนั้นๆ กําหนด FRM ถือเป็นส่วนประกอบหลักของโครงสร้าง ERP ทั้งหมด โดยผลลัพธ์จากการประมวลผลของ FRM มักจะออกมาในรูปแบบรายงาน ทั้ง
รายงานสําหรับระดับ ปฏิบัติการ รายงานสําหรับผู้บริหาร และรายงานสําหรับหน่วยงาน
ภายนอก เช่น กรมบัญชีกลาง กรมสรรพากร เป็นต้น
3. Human Resource Management (HRNI) หมายถึงระบบ สารสนเทศเพื่อการบริการงานทางบุคคล
จัดประกอบ ด้วยข้อมูลพื้นฐานของพนักงานใน องค์กร ข้อมูลพื้นฐานของโครงสร้างองค์กร
การประมวลผลเกี่ยวกับเงินเดือน เป็นต้น นอกจากนี้ องค์ประกอบกหลักของระบบ ERP
ยังมีการเชื่อมต่อกับระบบ
CRM และ SCM
4. Customer Resource Management
(CRI) หมายถึง
ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร และลูกค้า
เพื่อให้เป็นความสัมพันธ์ ระยะยาว โดยระบบนี้จะศึกษาพฤติกรรมการซื้อของลูกค้า
ความสนใจ ความ ต้องการ เพื่อให้
องค์กรนําข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์และนําสินค้าเสนอต่อลูกค้าให้ใกล้เคียงกับที่ลูกค้าสนใจ
และ การบริการหลังการขายแก่ลูกค้า ลดการสูญเสียลูกค้า ลดต้นทุนการตลาด เพิ่มรายได้
จากการที่ลูกค้าซื้อและแนะนํา ให้คนรู้จักชิ้นสินค้าขององค์กร
5. Supply Chain Management (SCM) หมายถึง ระบบสารสนเทศ เพื่อจัดการกระบวนการไหลของวัสดุ สินค้า
ตลอดจนข้อมูลและธุรกรรมต่างๆ ผ่านองค์กรที่ เป็นผู้ส่งมอบ ผู้จัดจําหน่าย
ไปจนถึงลูกค้า โดยที่องค์กรต่างๆ มี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจต่อกัน
ลักษณะสำคัญของ ERP
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.การบูรณาการระบบงานต่างๆ เข้าด้วยกัน
ตั้งแต่การจัดซื้อจัดจ้าง การผลิต การขาย บัญชี การเงิน และการบริหาร บุคคล
ซึ่งแต่ละส่วนงานจะมีความเชื่อมโยงในด้านการไหลของวัตถุดิบ สินค้า (material
flow) และการไหลของ ข้อมูล information flor) ERP ทําหน้าที่เป็นระบบการจัดการข้อมูล
ซึ่งจะทําให้การบริหารจัดการงานในกิจกรรม ต่างๆ ที่เชื่อมโยง
กันให้ผลลัพธ์ออกมาดีที่สุด พร้อมกับสามารถรับรู้สถานการณ์และปัญหาของงานต่างๆ
ได้ทันที ท่าให้สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างรวดเร็ว
2.รวมระบบงานต่างๆแบบ Real Time ทําให้ข้อมูลเกิดขึ้นในเวลาจริงอย่างทันที ช่วยให้สามารถทําการปิดบัญชีได้
ทุกวันเป็นรายวัน คํานวณ ต้นทุนและกําไรขาดทุนของ บริษัทเป็นรายวัน
3.ระบบ ERP มีฐานข้อมูล
(database) รวม โดยฐานข้อมูลรวมนี้สามารถถูก
เรียกใช้ได้จากระบบอื่นได้โดยตรงโดย ไม่จําเป็นต้องทํา Batch Processing หรือ File Transfer และทําให้ข้อมูลนั้นมีอยู่ที่เดียวได้
ทําให้ข้อมูลของระบบไม่ ซ้ําซ้อน ไม่มีความผิดพลาดและขัดแย้งของข้อมูล
และเกิดประสิทธิภาพ
คุณสมบัติของ ERP
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. มีความยืดหยุ่น (Flexible) สามารถรองรับการปรับเปลี่ยนขององค์กรในอนาคตได้ รวมทั้ง
การเก็บข้อมูลควรใช้ ฐานข้อมูลกลางเดียวกัน เพื่อให้สามารถบูรณาการข้อมูลได้
2. โมดูลเป็นอิสระจากกัน (Modular)
ERP ประกอบด้วยหลายฟังก์ชั่นการทํางาน หรือ
หลายโมดูลดังนั้นควรมีการทํา งานที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน และอิสระต่อกัน
เพื่อป้องกันการเปลี่ยนแปลงจะได้ไม่กระทบกับโมดูลอื่นๆ
3. ความครอบคลุม (Comprehensive) สามารถรองรับการทํางานได้หลากหลายฟังก์ชัน และต้องรองรับการทํางาน
ได้หลากหลายแพลตฟอร์ม (Platform)
4. การเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศอื่นนอกเหนือจากองค์กร
(Beyond the Company) สามารถเชื่อมต่อกับระบบสาร สนเทศอื่นๆ
ขององค์กรได้ ไม่จํากัดเพียง ERP เท่านั้น
5. มีกระบวนการทํางานที่ดี (Belong
to the Best Business Practices) มีกระบวนการทํางานที่เป็นมาตรฐาน
โดยนํา กิจกรรมหรือกระบวนการทํางานที่จัดว่า เป็นสิ่งที่ดีที่องค์กรจึงมีไว้ในระบบ
และแต่องค์กรสามารถปรับแต่งได้ตาม ความเหมาะสมกับองค์กร
ประโยชน์ของ ERP
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารและการปฏิบัติงานให้กับกระบวนการทํางานของธุรกิจ
(business process)
2. สร้างระบบงานและกระบวนการทํางานให้ถูกต้อง
รวดเร็วระบบเพียงครั้งเดียว เชื่อมโยงกัน ได้ครบวงจร
3.ลดความซ้ําซ้อนของการเก็บข้อมูล
เนื่องจากนําข้อมูลเข้าระบบเพียงครั้งเดียว ทําให้ข้อมูลมีความเป็นมาตรฐาน
และถูกต้องตรงกันทั่วทั้งองค์กร
4. มีศูนย์รวมระบบข้อมูลสารสนเทศที่ช่วยการตัดสินใจ
5. เป็นการนํากระบวนการทํางานที่ดีที่สุด (best
practice) มาใช้ในองค์กร
6. มีความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยน หรือขยายระบบงาน
ให้มีการงานตรงตามกระบวนการ ทางธุรกิจที่ต้องการ
7. มีระบบการควบคุมภายใน และการรักษาความปลอดภัยที่ดี
8. ทําให้เกิดรายงานและการวิเคราะห์ที่สามารถใช้สําหรับการวางแผน
9. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานระยะยาว
ระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (CRM)
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
CRM ย่อมาจาก Customer Relationship Management การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ คือ การจัดการกิจกรรมที่
เกี่ยวกับลูกค้าในปัจจุบัน และลูกค้าที่คาดว่าจะมีใน อนาคต
เป็นการประสานกระบวนการขาย การตลาด และการให้ บริการทั้งหมด ดังนั้น
ระบบสารสนเทศที่รองรับระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์รวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลใน งาน
ต่าง ๆ วิเคราะห์ ประเมินคุณค่าของลูกค้า ค้นหากลุ่มลูกค้า ความต้องการ ใน
สินค้าและบริการ เพื่อนําปรับปรุงให้ สอดคล้องต่อไป
สาเหตุที่ต้องมี CRM เนื่องจากการทําธุรกิจในยุคโลกาภิวัตน์
มีการเปลี่ยนแปลง คือ
-การแข่งขันทางธุรกิจสูงขึ้น รุนแรง และรวดเร็ว
-การแข่งขันทางธุรกิจสูงขึ้น รุนแรง และรวดเร็ว
-อํานาจซื้ออยู่ที่ลูกค้า
-การหาลูกค้าใหม่มีต้นทุนสูงขึ้น
-ลูกค้าที่อยู่กับบริษัทนาน เป็นลูกค้าที่มีคุณค่า
ลูกค้ามีความคาดหวังสูงขึ้น บริษัทต้องตอบสนอง
-หลัก 30:20 ทําให้ต้องจัดการลูกค้าแต่ละกลุ่มต่างกัน
-ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ช่วยให้เราเลือกลูกค้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
-ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ช่วยให้เราเลือกลูกค้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
ประโยชน์ของระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (CRM)
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. สร้างความจงรักภักดี
(Loyalty) ของลูกค้าในระยะยาว ซึ่งบริษัทจะต้องถือ
เป็นทรัพย์สินที่มีค่าและต้องดูแลรักษา เป็นอย่างดี
2. เพิ่มยอดขายในระยะยาว
จากการศึกษาพบว่าค่าใช้จ่ายในการหาลูกค้าใหม่นั้นมากกว่า 5
เท่าของการรักษาลูกค้าเก่า
ซึ่งลูกค้าเก่ามีแนวโน้มที่จะซื้อสินค้าและบริการจากบริษัทในอนาคตสูง
ดังนั้นต้องรักษาลูกค้าเก่าที่เป็นลูกค้าราย ใหญ่ไว้ให้ได้
3. สร้างประวัติ
ชื่อเสียงและภาพพจน์ที่ดีของบริษัท เพราะลูกค้าจะบอกกันปากต่อปากถึงบริการหรือสินค้าที่ดี
อย่างไรก็ตามถ้าสร้างความไม่พอใจให้กับลูกค้าก็จะเสีย
ลูกค้าจํานวนมากทั้งลูกค้าปัจจุบันและอนาคต
4. เพิ่มโอกาสในการเติบโตของธุรกิจ
5. มีการเก็บรวบรวมข้อมูลของลูกค้าในระบบอิเล็กทรอนิกส์
6. เป็นเครื่องมือช่วยเชื่อมต่อเข้ากับระบบงานอื่น
ๆ เช่น ERP SCM
ขั้นตอนของระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (CRM)
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. การค้นหาคุณค่าที่ลูกค้าต้องการ
และคุณค่าที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน "คุณค่าที่ลูกค้าต้องการคือ
ประโยชน์ที่ลูกคาดว่าจะได้รับจากสินค้าหรือบริการ โดยเมื่อลูกค้าเปรียบเทียบกับต้นทุนที่ต้องจ่ายออกไปแล้ว
“คุ้มค่า"หรือ"ได้มากกว่าเสีย” นั่นเอง "คุณค่าที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน คือ ประโยชน์ที่ลูกค้าได้รับมากกว่าอีกว่า
และแตกต่างจากคู่แข่งขัน วิธีการค้นหาโดยสํารวจวิจัยและเก็บข้อมูลโดยการออกแบบสอบถาม
สัมภาษณ์ พูดคุย ประชุมปรึกษาหารือกับลูกค้าทำความเข้าใจกับสิ่งที่ลูกค้าต้องการและสามารถสร้างคุณค่าแก่ลูกค้าได้อย่างไรบ้างและเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันว่าดีกว่าและแตกต่างจากคู่แข่งขันหรือไม่
2. การกําหนดตลาดเป้าหมาย
เนื่องจากลูกค้ามีความต้องการในคุณค่าที่แตกต่างกัน จึงจําเป็นต้องตอบสนองต่อลูกค้าแตกต่างกันออกไป
ด้วยการแบ่งตลาดออกเป็นส่วนย่อย ๆ แล้วออกแบบกลยุทธ์ CRM สําหรับตลาดเป้าหมายนั้น
ๆ
3. การนําเสนอคุณค่าแก่ลูกค้า การนําเสนอคุณค่าแก่ลูกค้ามิใช่หน้าที่ของฝ่ายการตลาดเพียงฝ่ายเดียวเท่านั้นของทุกฝ่าย
ที่จะต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการทํางานใหม่เพื่อสร้างและนําเสนอคุณค่าเหนือกว่าคู่แข่งขันแก่ลูกค้าอย่างต่อเนื่อง
4. ประเมินโดย
4. ประเมินโดย
-การเปรียบเทียบยอดขายที่เกิดขึ้นจริงกับประมาณยอดขายตามเป้าหมาย
-คํานวณอัตราการสูญเสียลูกค้าจํานวนลูกค้าที่เยี่ยมชมเว็บไซต์เพิ่มขึ้น
-วัดความพอใจของลูกค้า พนักงานในบริษัท
ประเภทของระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (CRM)
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ประเภทของ CRI ประเภทของ CRM ผ่านทางการสนับสนุนของ
IT แบ่งเป็น
1. Operational CRM: เป็น CRM ในเชิงปฏิบัติการ
เป็นการ ดําเนินการที่ประกอบไปด้วยการให้บริการลูกค้า การ
จัดการการสั่งซื้อของลูกค้า การรับชําระเงินและการจัดส่ง การตลาดขายแบบอัตโนมัติ
2. AnalyticalCRI: เป็น CRM ในเชิงวิเคราะห์
เป็นการ ดําเนินการที่รวบรวม จัดเก็บ ดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลลูกค้า นํามาประมวลผล
และแปลความ และการรายงานข้อมูลมูลลูกค้าเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ทาง การตลาด
3. Collaboration CRM: เป็น CRM ในเชิงการทํางานร่วมกัน
เป็นการจัดการประสานการติดต่อกระบวนการทั้งหมด ที่จําเป็นระหว่างบริษัทกับ
ลูกค้าและผู้ขายด้วย
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การนำสารสนเทศมาใช้ในCRM
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนํามาใช้ในการบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในงานต่อไปนี้
1. ระบบการตลาดอัตโนมัติ (Market Automation) เป็นการนําเทคโนโลยีมาช่วยวิเคราะห์ข้อมูลเฉพาะบุคคล (Personalization)
ประวัติ พฤติกรรมการซื้อของลูกค้า (ประเภทของสินค้าที่ซื้อ
จํานวนมูลค่าในการ ซื้อ ความถี่ใน การซื้อ) การตลาดทางไกล (Tele-Marketing)
พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นการนําเสนอสินค้าหรือบริการที่เหมาะสม
ให้กับลูกค้าในเวลาที่เหมาะสม การใช้เทคนิคการขุดค้นข้อมูลเหมืองข้อมูล (Data
Mining) จะ ช่วยในเรื่องของการ วิเคราะห์ได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. การขายอัตโนมัติ (Sales automation) กระบวนการขายเป็นกระบวนการที่ทําให้สินค้าไปสู่มือลูกค้า หรือการให้
บริการกับลูกค้า กระบวนการจะ เริ่มตั้งแต่การให้ข้อมูลของสินค้าและราคา ลักษณะเด่น
การจัดสินค้าและบริการให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า การต่อรองราคา
การตรวจสอบวงเงินของลูกค้าการทําสัญญา และการบริหารสัญญา ระบบการทํางานร่วมกันเป็นทีม
การนําเทคโนโลยีมาใช้จะทําให้ผู้ขายสามารถเข้าถึงข้อมูลของสินค้า ลูกค้า ติดต่อ
กับบุคคลที่เกี่ยวข้องได้ ทั้งในที่ทํางาน หรือแม้ในขณะที่อยู่กับลูกค้า
3. การบริการ (Service) เป็นงานให้บริการลูกค้า ได้แก่ ระบบ call Center การตอบคําถามของลูกค้าการ บริหาร Workflow การโต้ตอบผ่านระบบ VR (Interactive Voice Response) ศูนย์บริการ การจัดทําเว็บไซต์ เพื่อให้บริการ ดาวน์โหลดไฟล์ รับแจ้งปัญหา การให้ข้อมูลผ่านทาง โทรศัพท์มือถือ
ความสามารถหลักของCRM
3. การบริการ (Service) เป็นงานให้บริการลูกค้า ได้แก่ ระบบ call Center การตอบคําถามของลูกค้าการ บริหาร Workflow การโต้ตอบผ่านระบบ VR (Interactive Voice Response) ศูนย์บริการ การจัดทําเว็บไซต์ เพื่อให้บริการ ดาวน์โหลดไฟล์ รับแจ้งปัญหา การให้ข้อมูลผ่านทาง โทรศัพท์มือถือ
ความสามารถหลักของCRM
1. การจัดการเรื่องการติดต่อ (Contact
Management)
-ช่วยในด้านการขาย การตลาด การบริการอย่างมืออาชีพ
-ช่วยเก็บข้อมูลลูกค้า
ซึ่งมีความสัมพันธ์กันที่ผ่านมาเอาไว้ เพื่อนํามาช่วยวางแผนช่องทางในการติดต่อกับลูกค้า
ได้ง่าย
-ช่วยเก็บข้อมูลของลูกค้าเอาไว้ในฐานข้อมูล ซึ่งรวมกันเป็นสารสนเทศบัญชีลูกค้า
-สามารถให้ลูกค้าติดต่อกับบริษัทได้โดยผ่านอินเตอร์เนต
อินทราเน็ต และเครือข่ายอื่นๆ ที่เชื่อมโยง
2.การขาย (Sales
Management)
- สนับสนุนกิจกรรมด้านการขาย ซึ่งทําให้การขายสามารถขายได้สูงขึ้นด้วยระบบออนไลน์
- ลูกค้าสามารถเข้ามาตรวจเช็ค สถานะทางบัญชี ฝากเงินตามยอดขายของตนเอง
3. การตลาด (Marketing Management)
-
ส่งเสริมการขายได้โดยตรงด้วยระบบอัตโนมัติ เช่น ทําให้การตั้งเป้าหมาย ทาง
การตลาดได้รับผลดี
- ช่วยทําการตลาด เช่น ช่วยติดตามการส่งอีเมล์ไปยังลูกค้าได้โดยตรง
การตอบกลับอย่างรวดเร็ว
- ช่วยในการวิเคราะห์ลูกค้า เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับธุรกิจ
4. การบริการและการสนับสนุนลูกค้า (Customer
Service and Support)
- จัดการด้านการบริการด้วยซอฟท์แวร์ที่สามารถเข้าถึงฐานข้อมูลของลูกค้าได้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์
- สามารถใช้ฐานข้อมูลร่วมกันได้ เช่น ฐานข้อมูลการขายและการตลาดแบบมืออาชีพ
ระบบการบริหารห่วงโซ่อุปทาน Supply Chain Management (SCM)
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
- สามารถใช้ฐานข้อมูลร่วมกันได้ เช่น ฐานข้อมูลการขายและการตลาดแบบมืออาชีพ
ระบบการบริหารห่วงโซ่อุปทาน Supply Chain Management (SCM)
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Supply Chain Management (SCM) คือ กระบวนการโดยรวมของการไหลของวัสดุสินค้า
ตลอดจนข้อมูล และ ธุรกรรมต่าง ๆ ผ่านองค์การที่เป็นผู้ส่งมอบ ผู้ผลิต
ผู้จัดจําหน่าย ไปจนถึงลูกค้าหรือผู้บริโภค โดยที่องค์การต่าง ๆ เหล่านี้มีความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่เกี่ยวข้องกัน
ตั้งแต่ต้นน้ํา (วัตถุดิบ) จนถึงปลายน้ํา (สินค้าสําเร็จรูปหรือ บริการ)
ซึ่งมีลักษณะยาวต่อเนื่องกันเหมือนโช่
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพตลอดกระบวนการผลิตอนถึงมือผู้บริโภค
โดยการให้ความสําคัญต่อการสื่อสาร การวิเคราะห์ข้อมูล และนําไปใช้ร่วมกัน
เพื่อลดต้นทุนการถือครองสินค้าใน ทุกกิจกรรมให้มากที่สุด
เป็นสร้างมูลค่าเพิ่มในการดําเนินงาน
และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืน รวมไปถึง ลูกค้า
และผู้จัดส่งวัตถุดิบด้วย ทั้งนี้เพื่อให้องค์การมี ความสามารถในการบริหาร ความเติบโตของธุรกิจ
และความยั่งยืนของธุรกิจ
แนวคิดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน (SCM)
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. เปลี่ยนจากการทํางานตามบทบาทและหน้าที่ของแต่ละฝ่ายเป็นการทํางานร่วมกันเป็น
กระบวนการ
2. เปลี่ยนเป้าหมายที่กําไรเป็นการทํางานที่มีเป้าหมายหลายด้าน
3. เปลี่ยนจากการมุ่งเน้นผลิตภัณฑ์เป็นการมุ่งเน้นลูกค้า
4. รักษาปริมาณสินค้าคงคลังในระดับที่เหมาะสม
และสามารถสนองความต้องการของลูกค้าให้ได้สูงที่สุดโดยใช้
ระบบสารสนเทศเชื่อมโยงและแจ้งข้อมูลได้ทันที
5. สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างหน่วยธุรกิจต่างๆ
ประกอบการติดต่อด้วยสัญญาทาง การค้า ใบสั่งสินค้า หรือการเจรจาทางการค้า
การบูรณาการโซ่อุปทาน (SCM)
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------การบูรณาการโซ่อุปทาน (SCM)
1. สมาชิกในห่วงโซ่อุปทานประสานงานสอดคล้องกันทั้งระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ
ตลอดจนการสร้าง วัฒนธรรมองค์กรเพื่อสนับสนุนงาน
2. บูรณาการสารสนเทศ โดยเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูลสารสนเทศ
และข้อมูลต่างๆ ที่มีผลกระทบการดําเนินงาน
3. บูรณาการกระบวนการทางธุรกิจให้เป็นระบบเดียวกัน
เพื่อช่วยปรับปรุง ความสามารถหลักของแต่ละฝ่าย อีกทั้ง
เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ
4. สร้างแบบจําลองธุรกิจใหม่ๆขึ้นมา
เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนห่วงโซ่อุปทาน และ การส่งมอบคุณค่าให้แก่ลูกค้า
ในรูปแบบที่ต่างจากเดิม
ประโยชน์ของ SCM
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เป้าหมายหลัก SCM
คือ
ต้องการทําการลดความไม่แน่นอน (Uncertainty) และ ความเสี่ยง (Risk) ตลอด Supply Chain ลงให้มากที่สุด
กระบวนการของ SCM
จะช่วยให้องค์การยกระดับความสามารถในการบริหาร
ดังนี้
- ลดระดับของสินค้าคงคลัง
- เพิ่มผลิตภาพ
- ลดความสูญเปล่าในกระบวนการทํางาน
- ลดรอบเวลาของการทําธุรกรรม
- การเพิ่มโอกาสในการออกสินค้าใหม่ให้เร็วขึ้น
- การเปิดตลาดใหม่
ๆ
- การสร้างความพอใจแก่ลูกค้ามากขึ้น
- การลดต้นทุนธุรกิจ
- การบริหารเงินทุนหมุนเวียนที่ดี
เป็นต้น
โครงสร้างส่วนประกอบของ SCM
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
โครงสร้างส่วนประกอบของ SCI การสนับสนุนงาน Supply Chain โดยใช้ IT แบ่งได้เป็นสามส่วน คือ
1) Upstream supply chain (ห่วงโซ่ต้นทาง) คือ การดําเนินงานขององค์กร
ตั้งแต่การจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบจาก ซัพพลายเออร์ผู้ขายวัตถุดิบให้บริษัท
2) Internal supply chain (ห่วงโซ่ภายใน) คือ การดําเนินงานภายในองค์เพื่อเปลี่ยนวัตถุดิบให้เป็นสินค้า
ได้แก่ การ จัดการผลิต โรงงาน และสินคงคลัง
3) Downstream Supply chain (ห่วงโซ่ปลายทาง) คือ การดําเนินงานใน
การกระจายสินค้า การจัดเก็บ การขนส่ง และ การให้บริการหลังการขาย ไปยังผู้ที่ซื้อ
รับสินค้าไปจากบริษัท
การไหลของ Supply Chain
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------มีสามแบบ(ในมุมมองที่ต่างกัน) ได้แก่
• การไหลของวัตถุดิบ
(Materials flows) หมายถึง
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ วัตถุดิบ การ จัดส่ง และอื่นๆ ที่ไหลไปตามสายโซ่ แนวความคิดของ materials
flows รวมทั้ง reverse
flows-returned products, recycled products และ disposal of materials or products
• การไหลของสารสนเทศ (Information flows) หมายถึงข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวกับความต้องการ
การจัดส่ง การสังของ การส่งคืน และ ตารางเวลา (Schedule) เป็นการไหลของสารสนเทศทั้งสิ้น
• การไหลทางบัญชี (Financial flows) หมายถึง การไหลของข้อมูลทางการบัญชี
การเงินทั้งไหมด ไม่ว่าจะเป็นการ โอนเงิน การจ่ายเงิน การรับเงิน ข้อมูล credit
card และการอนุมัติวงเงิน
ตารางการจ่ายเงิน การจ่ายเงินแบบ อิเล็กทรอนิกส์ ที่สัมพันธ์กับข้อมูล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น